กศน.ตำบลน้ำก่ำ

.... เขื่อนน้ำก่ำตอนล่าง ยางพาราเขียวขจี มีปลาน้ำโขงเลิศรส ..... ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์ กศน.ตำบลน้ำก่ำ อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม หมายเลขโทรศัพท์ 0879458992 อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ

ประวัติและความเป็นมา/ที่ตั้ง


ข้อมูลพื้นฐานของ  กศน.ตำบลน้ำก่ำ
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป
          ๑.๑. ชื่อ กศน.ตำบลน้ำก่ำ
          ๑.๒. สถานที่ตั้ง   บ้านคับพวง   หมู่ที่    ตำบลน้ำก่ำ  อำเภอธาตุพนม   จังหวัดนครพนม
                              โทรศัพท์  ๐-๔๒๕๔-๐๕๖๕   โทรสาร   ๐-๔๒๕๔-๐๕๗๕ 
                              โทรศัพท์มือถือ  ๐๘๕ ๗๔๓๖๑๙๖
                              E-mail : Namkam. Digital@gmail.com


          ๑.๓.ระยะเวลาดำเนินงาน
          ๑.๔.หน่วยงานที่เข้าร่วมส่งเสริมและสนับสุนน
                   ๑.๔.๑. เทศบาลตำบลน้ำก่ำ
                   ๑.๔.๒. ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพบ้านทรายมูลตำบลน้ำก่ำ 
                   ๑.๔.๓. โรงเรียนบ้านคับพวง
                   ๑.๔.๔. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดนครพนม
          ๑.๕. อัตลักษณ์ ของ กศน.ตำบล
                   มีความรู้  คู่คุณธรรมนำเศรษฐกิจพอเพียง 
         ๑.๖. ครูที่ปฏิบัติงานใน กศน.ตำบลน้ำก่ำ
                   ๑) นายไกรวัฒน์  ไชยภักดี                   ครูอาสาสมัคร
                   ๒) นางลักขณา   คำเบ้าเมือง                ครู กศน.ตำบล
                   ๓) นายวุฒิชัย  ขันติยะ                         ครู กศน.ตำบล
          ๑.๗. สถานที่        ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอธาตุพนม
                             สังกัดสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครพนม

                  
ตอนที่ ๒ ข้อมูลการประเมิน
๑.      ระบบการบริหารจัดการ
๑.๑.  สภาพอาคารตั้งอยู่ในสภาพเหมาะสม  มั่นคง  แข็งแรงและปลอดภัย
         

          กศน.ตำบลน้ำก่ำ  ตั้งอยู่บ้านคับพวง  หมู่ที่ ๔  ตำบลน้ำก่ำ  อำเภอธาตุพนม  จังหวัดนครพนม  เป็นที่ทำการของ กศน.ตำบลน้ำก่ำ มีสภาพอาคารมีความมั่นคง  แข็งแรงและปลอดภัย  มีความสะดวกสบาย  มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้  มีการใช้สอยแบ่งเป็นสัดส่วน
          ส่วนที่ ๑ ใช้ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          ส่วนที ๒ ใช้ในการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง   กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและจัดกิจกรรมอื่นๆ
๑.๒.  มีการจัดสภาพแวดล้อมที่สะอาด  ร่มรื่น  สวยงามทั้งภายในและภายนอก ครู กศน.ตำบลน้ำก่ำร่วมกับนักศึกษาทำกิจกรรม   ๕ ส.  ดำเนินการพัฒนา กศน.ตำบลโดยการจัดสภาพแวดล้อมท่สะอาด  ร่มรื่น  สวยงามทั้งภายในและภายนอก และมีการจัดภูมิทัศน์โดยรอบๆบริเวณอาคาร และมีการจัดมุมต่างๆบริการให้กับผู้ที่มาใช้บริการ กศน.ตำบล
๑.๓.  มีวัสดุ  ครูภัณฑ์และสื่ออุปกรณ์ต่างๆในการจัดการเรียนการสอน  เช่นหนังสือ  คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ และมีอินเตอร์เน็ตบริการฟรี
๑.๔.  มีการจัดทำระบบฐานข้อมูลของประชากรในพื้นที่
๑.๕.  ได้มีการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ  ๒๕๖๐
๑.๖.  มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากภาคีเครือข่าย
๑.๗.  มีการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของ กศน.
๑.๘.  มีการเปิกบริการอย่างน้อย    วัน / สัปดาห์   ( กิจกรรม / บริการ )
                   ครู กศน.ตำบลน้ำก่ำ ได้ปฏิบัติงานในพื้นที่ ที่  กศน.ตำบลน้ำก่ำ  ในวันจันทร์  – วันศุกร์  จะดำเนินการจัดการเรียนการเรียนรู้งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประศึกษา , มัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย และมีการเรียรู้ผ่านรายการ  ETV  มี ระบบ  INTERNET  ใช้ฟรี มีบริการ ยืม คืน สื่อการเรียนและสื่ออื่นๆ เช่น  VCD  CD หนังสือต่างๆ  เพื่อให้บริการแก่ประชาชนและนักศึกษาได้ศึกษาและค้นคว้า

๒.     การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑.  มีความสำรวจปัญหาและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เช่นการสำรวจข้อมูลพื้นฐาน  ความต้องการทางการศึกษาและแบบสำรวจข้อมูลวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น
๒.  มีการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
๓.  มีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่างๆ
๔.  มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและวิชาชีพหลักสูตรระยะสั้น 




ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน


๒.๑ สภาพทั่วไปของ กศน.ตำบล

ข้อมูลทั่วไปของชุมชุน


(๑) แผนที่ชุมชน (แสดงข้อมูลครัวเรือน, สถานที่สำคัญ, จุดที่ตั้งผู้นำ,หัวหน้าคุ้ม,คนพิการ,
คนยากจน, และสิ่งแวดล้อมของชุมชน)

(๒) ขนาดพื้นที่ ๓๔,๐๒๔ ไร่ หรือ ๕๔.๔๕๑๒ ตารางกิโลเมตร
(๓) ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม
ทิศใต้ ติดกับ ตำบลโป่งขาม อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร
ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้ำโขง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลฝั่งแดง และ ตำบลอุ่มเหม้า อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม

(๔) ระยะห่างจากอำเภอธาตุพนม ๔.๕ กิโลเมตร



๑.๒ ประวัติหมู่บ้าน/ชุมชน (บอกความเป็นมาของหมู่บ้าน,ที่มาของชื่อหมู่บ้าน,ผู้นำในการจัดตั้ง
หมู่บ้าน, จำนวนผู้นำหมู่บ้าน, และผู้นำหมู่บ้านปัจจุบัน)

ประวัติตำบลน้ำก่ำ


ตำบลน้ำก่ำ เดิมทีได้มีราษฎรจากอำเภอมุกดาหารและราษฎรจากแขวงสุวรรณเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อพยพมาตั้งรกรากอยู่ที่ปากลำน้ำก่ำ ซึ่งมีต้นน้ำมาจากหนองหาน จังหวัดสกลนคร สืบเนื่องมาจากบริเวณปากน้ำก่ำเป็นที่อุดมสมบูรณ์ เหมาะสมกับในการประกอบอาชีพการเกษตรและประมง เพราะเป็นที่ราบลุ่มและมีปลาชุกชุมในฤดูน้ำหลาก ปลาจำนวนมากจะมารวมตัวกันว่ายทวนน้ำขึ้นไปในลำน้ำก่ำ เพื่อวางไข่ อาศัยพื้นที่ตรงที่ตั้งหมู่บ้านเป็นจุดระหว่างลำน้ำก่ำเชื่อมแม่น้ำโขง ซึ่งเรียกว่าปากก่ำ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการเป็นอยู่ของราษฎรที่อยู่อาศัย จึงตั้งชื่อบ้านตามลำน้ำว่า "บ้านน้ำก่ำ"


ประกอบด้วย ๒๐ หมู่บ้าน ได้แก่

หมู่ที่ ๑ บ้านน้ำก่ำ                   หมู่ที่ ๒ บ้านแก่งโพธิ์
หมู่ที่ ๓ บ้านน้ำก่ำใต้               หมู่ที่ ๔ บ้านคับพวง
หมู่ที่ ๕ บ้านนาคำ                   หมู่ที่ ๖ บ้านทู้
หมู่ที่ ๗ บ้านทรายมูล              หมู่ที่ ๘ บ้านคำผักแพว
หมู่ที่ ๙ บ้านดอนข้าวหลาม      หมู่ที่ ๑๐ บ้านน้ำก่ำเหนือ
หมู่ที่ ๑๑ บ้านโนนสังข์            หมู่ที่ ๑๒ บ้านสระพังทอง
หมู่ที่ ๑๓ บ้านนาคำเจริญ         หมู่ที่ ๑๔ บ้านสันติสุข
หมู่ที่ ๑๕ บ้านโคกน้อย            หมู่ที่ ๑๖ บ้านดอนข้าวหลามเหนือ
หมู่ที่ ๑๗ บ้านน้ำก่ำน้อย          หมู่ที่ ๑๘ บ้านน้ำก่ำใหม่
หมู่ที่ ๑๙ บ้านเหล่าเจริญ         หมู่ที่ ๒๐ บ้านใหม่ทรายมูล


๑.บ้านน้ำก่ำกลาง หมู่ที่ ๑        
๑.      ประวัติหมู่บ้าน    
ประวัติความเป็นมา  บ้านน้ำก่ำกลาง  หมู่ที่    ตำบลน้ำก่ำ   เมื่อประมาณ   ๒๐๐   ปี
ได้มีราษฎรกลุ่มหนึ่งย้ายถิ่นฐานมาจากจังหวัดมุกดาหาร  และอีกกลุ่มหนึ่ง   จำนวน   ๒๐๐  คน  มาตั้งหมู่บ้านอยู่ที่ปากลำน้ำก่ำ  ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งย้ายถิ่นฐานมาจากเมืองวังอ่างคำ   (สปปล.)  เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น  จึงได้มีการจัดตั้งหมู่บ้าน  ชื่อบ้านน้ำก่ำกลาง และต่อมาได้มีการจัดตั้งหัวหน้าหมู่บ้าน คือ   นายผอ    โทสะกะ  เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก  นับจนถึงปัจจุบันนี้มีผู้ใหญ่บ้านทั้งหมดรวม        คน

๒.      สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นพื้นที่ราบยาวตามลำแม่น้ำโขง  ลักษณะดินเป็นดิน
ร่วนปนทราย  ไม่มีพื้นที่ๆ เป็นป่า  ไม่มีภูเขา  เหมาะแก่การทำการเกษตร

๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
                            ทิศเหนือ                                ติดกับ      บ้านน้ำก่ำเหนือ
                            ทิศใต้                                    ติดกับ     บ้านน้ำก่ำใต้
                            ทิศตะวันออก                          ติดกับ     แม่น้ำโขง
                            ทิศตะวันตก                            ติดกับ     บ้านสระพังทองและบ้านดอนข้าวหลาม

๒.บ้านแก่งโพธิ์ หมู่ที่ ๒
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
                        บ้านแก่งโพธิ์ เป็นหมู่บ้านขนาดกลางชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นชาวไท – ลาว หรือไทอีสานอพยพมาจากเมืองอุบลและธาตุพนม เมื่อประมาณ ๒๐๐ ปีมาแล้วโดยกลุ่มที่มาจากเมืองอุบลเป็นกลุ่มแรกได้แก่ครัวเรือนที่ใช้นามสกุล “คำมุก” ส่วนกลุ่มที่อพยพมาจากธาตุพนมคือ  กลุ่มนามสกุล “ วัตโส” และกลุ่ม “บุปผาชาติ”  คำว่า “แก่งโพธิ์” หมายถึงโขดหินเป็นบริเวณกว้างในช่วงฤดูน้ำลด และมีต้นโพธิ์ใหญ่อยู่ในบริเวณหมู่บ้านซึงเป็นที่ตั้งของวัดในปัจจุบันชาวบ้านนำมาเรียกรวมกันตั้งชื่อหมู่บ้านว่า “ บ้านแก่งโพธิ์
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
                        เป็นที่ราบรุ่มตามลำน้ำก่ำพื้นที่ทำนารอบหมู่บ้าน  ห่างจากวัดพระธาตุพนมไปทางทิศตะวันตกประมาณ  ๕ กิโลเมตร
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน
                        ทิศเหนือ             ติดกับ         บ้านดงคราม   ตำบลธาตุพนม  
                        ทิศใต้                 ติดกับ         บ้านหนองเปง  ตำบลฝั่งแดง     
                        ทิศตะวันออก        ติดกับ         บ้านโนนสังข์   ตำบลน้ำก่ำ       
                        ทิศตะวันตก          ติดกับ         บ้านต้อง   ตำบลฝั่งแดง

๓.บ้านน้ำก่ำใต้  หมู่ที่ ๓
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน บ้านน้ำก่ำใต้เดิมแยกออกมาจาก หมู่ที่ ๑ บ้านน้ำก่ำ
กลาง  เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๘๕ อยู่ทางทิศใต้ของห้วยจินาย ตั้งเดิมบ้านน้ำก่ำเอาลำน้ำก่ำเป็นชื่อหมู่บ้านแต่ก่อนอพยพมาจากจังหวัดอำนาจเจริญ และอีกส่วนมาจากประเทศลาว  เมืองวังอ่างคำ  แขวงท่าแขก   ไม่รวม    ปี พ.ศ. ๒๔๕๐
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
                        มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มและที่ดอนติดกับแม่น้ำโขง มีพื้นที่ทำกินไม่มากส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัย ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำการเกษตร  โดยใช้หาดแห่เป็นพื้นที่เพาะปลูก
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
                            ทิศเหนือ                      ติดกับ     บ้านน้ำก่ำกลาง   หมู่ที่  
                            ทิศใต้                          ติดกับ     บ้านน้ำก่ำใหม่พัฒนา   หมู่ที่  ๑๘
                            ทิศตะวันออก                ติดกับ     แม่น้ำโขง
                            ทิศตะวันตก                  ติดกับ     ห้วยแหง่ม  และหมู่ที่    บ้านดอนข้าวหลาม


๔.บ้านคับพวง  หมู่ที่ ๔
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
เริ่มแรกพ่อนามบัวลี  ได้เดินทางผ่านมาโดยทางเรือในเขตพื้นที่บ้านคับพวง  ซึ่งมีความ
อุดมสมบูรณ์พอสมควร ต่อมาจึงได้อพยพครอบครัวจากอำเภอหว้านใหญ่มาอยู่ที่บ้านคับพวง เมื่อประมาณ  ปี พ.ศ.  ๒๔๔๒   ได้สร้างที่อยู่อาศัยอยู่บริเวณใกล้แม่น้ำโขงโดยการหาเลี้ยงชีพด้วยการปลูกผักสวนครัว  และอาชีพประมง  ต่อมานายเชียงลา ซึ่งอาศัยอยู่ที่บ้านน้ำก่ำได้มาล่าสัตว์  และได้พบกับพ่อนามบัวลีจึงชักชวนให้มาอยู่ด้วยกันและได้ขยายออกไปเรื่อยๆ  จนกลายเป็นหมู่บ้าน  เริ่มแรกเรียกว่า  บ้านเวิน   เนื่องจากมีโขดหินมากทำให้น้ำไหลวนในลักษณะเช่นนี้  เรียกว่า   เวิน  โดยพ่อค้าจะใช้เรือแจวเป็นพาหนะขนสินค้ามาจำหน่ายโดยเฉพาะ  ในเรือจะมีพวงที่ บังแดด  บังลม  บังฝน  และส่วนนี้ทำให้เรือสัญจรไป มา  ไม่สะดวกเท่าที่ควร  จึงเรียกขานกันต่อมาว่า    บ้านคับพวง มาจนถึงทุกวันนี้
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
 เป็นพื้นที่ราบสูงติดริมแม่น้ำโขง  สภาพดินมีความอุดมสมบูรณ์ดีเหมาะสำหรับทำ
การเกษตร   ถ้าสามารถนำน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่ทำการเกษตรได้
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ     บ้านนาคำ   หมู่ที่  
ทิศใต้                                    ติดกับ     บ้านใหม่ทรายมูล   หมู่ที่  ๒๐
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                            ติดกับ     บ้านพัฒนาชาติไทย

๕.บ้านนาคำ  หมู่ที่ ๕
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ประมาณพุทธศักราช  ๒๒๙๐  ตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายมีกลุ่มหนึ่งมาจากลุ่มน้ำโขเหนือเซบั้งไฟผู้นำเผ่าชื่อ  เพียกง – ท้าวเสมียะคำทอง   ต่อมาท้าวเพียเทพย้ายจากบ้านฮ้างริมโขงมาเป็นบ้านนาคำ พ.ศ. ๒๕๗๙  ได้ตั้งกวนบ้านเป็นผู้นำชื่อ  สุทธิสาร  ปกครองประมาณ  ๒๐  ปี พ.ศ.๒๕๒๔  ได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน  ชื่อนายบุญ สุทธิจักร พ.ศ.๒๔๕๔,นายจารย์ผา พ.ศ. ๒๔๖๕ ,นายทิศโทน  พ.ศ. ๒๔๗๓  ประมาณ ๙ ปี,นายคูณ    จักรชุม พ.ศ. ๒๕๐๐,นายคูณ     ระทะนาม ได้    วัน ลาออก, พ่อลุย   บัวเลิง  พ.ศ.๒๕๒  ประมาณ  ๒๑ ปี,นายสีตาล จักรชุม พ.ศ.๒๕๓๔ ,นายนา  ฑีระฆัง,นายคาวี  ฑีระฆัง คนปัจจุบัน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
สภาพทั่วไป บ้านนาคำ มีป่าดอน ทุ่งนา ลำห้วย ลำห้วยแง่ม และห้วยเวินเป็นที่สาธารณประโยชน์ของหมู่บ้าน ลำห้วยทั้งสองแห่งใช้ได้ทุกฤดูกาล  ส่วนที่สาธารณะเป็นที่ดิน  
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ      บ้านนาคำเจริญ  หมู่  ๑๓
ทิศใต้                                    ติดกับ     ห้วยเวินนาคำ , คับพวง
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     ลำน้ำโขง
ทิศตะวันตก                            ติดกับ     ติดกับบ้านสันติสุข  หมู่  ๑๔

๖.บ้านทู้  หมู่ที่ ๖
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ได้ก่อตั้งมากกว่า   ๒๐๐   ปีแล้ว  สันนิษฐานว่าแต่ก่อนอาจใช้ชื่อหมู่บ้านว่าภูคำ  เพราะมีต้น
ภูใหญ่และต้นส้มโฮงประจำหมู่บ้านซึ่งปัจจุบันยังคงอยู่ในหมู่บ้าน คนแรกที่มาตั้งหมู่บ้านชื่อ นายพรานบง  ปัจจุบันคือ
นายสงิด    ชนะชน เป็นกำนัน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นที่ราบสูงมีทุ่งนาล้อมรอบ
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ      บ้านโนนสังข์
ทิศใต้                                    ติดกับ     บ้านสระพังทอง
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     บ้านน้อยน้ำก่ำเหนือ
ทิศตะวันตก                            ติดกับ     บ้านเหล่าเจริญ

๗.บ้านทรายมูล  หมู่ที่ ๗
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านทรายมูล  เดิมผู้มาก่อตั้งบ้านทรายมูลอพยพมาจาก
จังหวัดมุกดาหารครั้งแรก  จำนวน      ครอบครัว  โดยการนำของครอบครัวของ  นายเวียงแก   อพยพมาประมาณปี   พ.ศ.  ๒๓๒๘    บ้านทรายมูล  มีผู้ใหญ่บ้านดำรงตำแหน่งมาแล้ว   ประมาณ   ๑๔   คน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
สภาพทั่วไป  บ้านทรายมูล  มีพื้นที่หมู่บ้านเป็นที่ราบลุ่ม  มีถนนภายในหมู่บ้าน     สาย
 เป็นคอนกรีตลาดยาง        สาย  เป็นถนนลูกรัง     สาย  บ้านหรือที่อยู่อาศัยมีความมั่นคงถาวรแล้ว     จำนวน  ๑๒๐   หลังคาเรือน  ไม่มีที่อยู่อาศัย   จำนวน        หลังคาเรือน
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ     บ้านใหม่ทรายมูล
ทิศใต้                                     ติดกับ     บ้านคำผักแพว
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                            ติดกับ     บ้านสันติสุข

๘.บ้านคำผักแพว  หมู่ที่ ๘
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมา  บ้านคำผักแพว  ได้ก่อตั้งหมู่บ้านขึ้นเมื่อ  ปี  พ.ศ.  ๒๔๕๑   ได้มีราษฎร
อพยพมาจากหมู่บ้านบ้านทรายมูล  และจากบ้านนาดีมาจากบ้านนาด , บ้านกลาง  และมาจากบ้านดอนกลางธาตุพนมได้มาอยู่รวมกันก็เลยจัดตั้งชื่อหมู่บ้านขึ้นก่อนจะตั้งชื่อหมู่บ้าน  เดิมมีลำห้วยหนึ่งอยู่กลางหมู่บ้านทุกคนจะพากัน  เรียกว่า  ห้วยคำผักแพว  เพราะมันมีน้ำคลำมาก  และมีผักแพวมาก  ก็เลยพากันตั้งชื่อหมู่บ้านคำผักแพวขึ้นมาจนถึงปัจจุบันนี้
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ปัจจุบัน  ก็มีบ้านหลายหลังคา  และมีประชากรหลายคนรวมกันทั้งชายและหญิง  ก็ได้พา
กันพัฒนาหมู่บ้านขึ้นให้เจริญก้าวหน้า  และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้อุดมสมบูรณ์
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ      บ้านทรายมูล
ทิศใต้                                    ติดกับ     เขตจังหวัดมุกดาหาร
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     เขตแม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                           ติดกับ     เขตนิคมทหารผ่านศึก

๙.บ้านดอนข้าวหลาม  หมู่ที่ ๙
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านดอนข้าวหลาม   เดิมแยกออกมาจากบ้านทู้ มาอยู่ตามหัวไร่ปลายนาประมาณ ปี ๒๔๙๐
เป็นที่ราบสูงชาวบ้านเรียกเป็นที่ดอนจึงตั้งชื่อบ้านดอนข้าวหลาม  โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานหมู่บ้าน 
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
สภาพพื้นที่ของหมู่บ้านเป็นป่าที่ลาบสูงส่วนมากประกอบอาชีพ   ทำนา  -  ทำไร่
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                                 ติดกับ      บ้านดอนข้าวหลามเหนือ
ทิศใต้                                    ติดกับ     บ้านนาคำเจริญ
ทิศตะวันออก                          ติดกับ     บ้านนาคำ
ทิศตะวันตก                            ติดกับ     โนนงาม

๑๐.บ้านน้ำก่ำเหนือ  หมู่ที่ ๑๐
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
เดิมคือบ้านน้ำก่ำใต้ หมู่ที่    ต่อมาหลังจากที่มีการแบ่งขยายหมู่บ้าน  จากหมู่ที่    มาเป็นหมู่  ๑๐ กับหมู่  ๑๗  บ้านน้ำก่ำน้อย  และ บ้านน้ำก่ำเหนือ  หมู่  ๑๐ ในปัจจุบันผู้ปกครองบ้านน้ำก่ำเหนือคนแรก  คือกำนัน สุภาพ   วัลลีย์   จนครบอายุเกษียณและทำการคัดเลือกผู้ใหญ่บ้านคนต่อไปแทนคนเดิม  คือคนที่    ได้แก่  นายยุทธนา   น้อยนันตะ
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นพื้นที่อยู่อาศัย  ประมาณ      ส่วน  และเป็นพื้นที่ใช้ประกอบอาชีพในการเกษตร      ส่วน   ราษฎรในหมู่บ้านส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกผัก   เลี้ยงสัตว์   จับปลา
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                         ติดกับ      บ้านน้ำก่ำน้อย
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านน้ำก่ำกลาง
ทิศตะวันออก  ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                ติดกับ     ห้วยจินาย  และบ้านน้ำก่ำน้อย

๑๑.บ้านโนนสังข์  หมู่ที่ ๑๑
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านโนนสังข์   หมู่ที่  ๑๑   ตำบลน้ำก่ำ   แต่ก่อนอยู่ในเขตการปกครองของบ้านทู้ หมู่ที่ ๘ จนถึง ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ แยกออกมาเป็นบ้านโนนสังข์ หมู่ที่ ๑๔ และเปลี่ยนมาเป็นหมู่ที่  ๑๑ จนถึงปัจจุบัน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นที่ราบลุ่ม และประกอบอาชีพการเกษตรเป็นหลัก
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                           ติดกับ      บ้านแก่งโพธิ์
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านโคกน้อย
ทิศตะวันออก                     ติดกับ     บ้านทู้
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     บ้านต้อง    ตำบลฝั่งแดง

๑๒.บ้านสระพังทอง  หมู่ที่ ๑๒
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านสระพังทองแยกการปกครองออกจากบ้านทู้ หมู่ที่ ๖  เมื่อปี  พ.ศ. ๒๕๑๗  ชื่อหมู่บ้านว่า
“ บ้านสระพังทองตามชื่อสระน้ำที่อยู่ในวัด
              ๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
เป็นที่ราบรุ่มตามลำน้ำก่ำพื้นที่ทำนารอบหมู่บ้าน ห่างจากวัดพระธาตุพนมไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ  ๕ กิโลเมตร
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ ติดกับ     บ้านน้ำก่ำน้อยหมู่ที่ ๑๗  
ทิศใต้                 ติดกับ     บ้านโคกน้อย 
ทิศตะวันออก        ติดกับ     บ้านน้ำก่ำใต้  
ทิศตะวันตก          ติดกับ     บ้านเหล่าเจริญ
     
๑๓.บ้านนาคำเจริญ  หมู่ที่ ๑๓
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมา  บ้านนาคำเจริญ  หมู่ที่  ๑๓  ตำบลน้ำก่ำ  เดิมแยกออกจาก  หมู่ที่  
บ้านนาคำ  เมื่อประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๒  โดยมีผู้ใหญ่บ้านคนแรก  ชื่อนายกาสี  บัวเลิง ปลดเกษียณครบอายุ ๖๐ ปี คนที่ ๒ คือนายใคร้ เสโนฤทธิ์  ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านบ้าน  เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ ดำรงตำแหน่งได้ ๑๙ ปี แล้วลาออกเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ คนที่ ๓ คือนายคันทะรี  ทีระฆัง  ดำรงตำแหน่งเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๔ และได้ครบวาระเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙ได้ทำการคัดเลือกขึ้นมาใหม่และได้ดำรงตำแหน่งต่อมาจนถึงปัจจุบัน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นพื้นที่ราบลุ่มเหมาะในการประกอบชีพเกษตรกรรมเช่น ปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว์  ประชากร ประกอบอาชีพรับจ้างเป็นบางส่วน อาชีพหลัก  คือ  ทำนา   ทำสวน   ค้าขาย   รับจ้าง  ประมง
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      บ้านน้ำก่ำใหม่พัฒนา
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านนาคำ
ทิศตะวันออก                    ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     บ้านดอนข้าวหลาม

๑๔.บ้านสันติสุข  หมู่ที่ ๑๔
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านสันติสุข   หมู่ที่  ๑๔   ตำบลน้ำก่ำ   ก่อตั้งเมื่อ วันที่      เมษายน  ๒๕๓๑   ซึ่งราษฎรที่มาจากโครงการสันติสุขกองทัพภาคได้ย้ายเข้ามาอยู่ ซึ่งแบ่งออกเป็น      ส่วน   และต่อมาได้ขอจัดตั้งหมู่บ้านขึ้นอีกหนึ่งหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลน้ำก่ำ
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นพื้นที่สูง  ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      คับพวง
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านคำผักแพว
ทิศตะวันออก                     ติดกับ     บ้านทรายมูล
ทิศตะวันตก                       ติดกับ     บ้านชาติพัฒนาชาติไทย  หมู่     ต. อุ่มเหม้า

๑๕.บ้านโคกน้อย  หมู่ที่ ๑๕
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านโคกน้อยเดินทีนั้นชาวบ้านเรียกว่า นาโคก เหตุผลที่เรียกว่า นาโคก มาจากที่ตั้งของหมู่บ้านเป็นโคกเล็กๆ  ( พื้นที่เป็นป่าที่ราบสูง) เป็นหมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนเนินเขานั้นเอง  เป็นในลักษณะชาวบ้านออกมาอยู่ตามหัวไร่ปลายนาเริ่มตั้งหมู่บ้านเป็นครั้งแรกเมื่อปี  ๒๕๓๖  แยกออกจากบ้านทู้เป็น  หมู่ที่ ๑๕ ตำบลน้ำก่ำผู้ใหญ่บ้านคนแรกคือ นายลม แสงสุวรรณ ปัจจุบันผู้ใหญ่บ้าน  คือนายเบีย สุขณา
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นพื้นที่สูง  ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      บ้านเหล่าเจริญ
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านดอนข้าวหลาม
ทิศตะวันออก                    ติดกับ     ดอนข้าวหลาม
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     บ้านใหม่จำปา

๑๖.บ้านดอนข้าวหลาม  หมู่ที่ ๑๖
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านดอนข้าวหลาม   เดิมแยกออกมาจากบ้านทู้ มาอยู่ตามหัวไร่ปลายนาประมาณ ปี ๒๔๙๐ เป็นที่ราบสูงชาวบ้านเรียกเป็นที่ดอนจึงตั้งชื่อบ้านดอนข้าวหลาม  โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธานหมู่บ้าน 
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
สภาพพื้นที่ของหมู่บ้านเป็นป่าที่ลาบสูงส่วนมากประกอบอาชีพ   ทำนา  -  ทำไร่
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      บ้านดอนข้าวหลามเหนือ
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านนาคำเจริญ
ทิศตะวันออก                    ติดกับ     บ้านนาคำ
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     โนนงาม

๑๗.บ้านน้ำก่ำน้อย  หมู่ที่  ๑๗
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านน้ำก่ำน้อย หมู่ที่  ๑๗  ตำบลน้ำก่ำ  ได้ก่อตั้งเมื่อ  ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยตั้งชื่อหมู่บ้านชื่อบ้านน้ำก่ำน้อย ปัจจุบันมีผู้ใหญ่บ้าน คือ นายกิตติศักดิ์   ชมจันทร์ เป็นหมู่บ้าน  อพป. เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๙ 
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านน้ำก่ำน้อย   เป็นพื้นที่ราบลุ่ม  ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรม เช่นปลูกข้าว ปลูกพืชผักทุกชนิด  และทำการประมง เลี้ยงสัตว์
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      ลำน้ำก่ำ
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านน้ำก่ำเหนือ
ทิศตะวันออก                    ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     ห้วยจินาย  หมู่ที่  ๑๒

๑๘.บ้านน้ำก่ำใหม่พัฒนา  หมู่ที่  ๑๘
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านน้ำก่ำใหม่พัฒนาแยกออกจากบ้านน้ำก่ำใต้หมู่ที่    เมื่อปี  พ.ศ.  ๒๕๔๒  ผู้ใหญ่บ้าน คนแรกคือ  นายวิพัฒน์   เสโนฤทธิ์   ถึงปัจจุบัน 
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
      เป็นที่ราบรุ่มตามลำน้ำก่ำพื้นที่ทำนารอบหมู่บ้าน ห่างจากวัดพระธาตุพนมไปทางทิศตะวันตกประมาณ ๖ กิโลเมตร
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                    ติดกับ     บ้านน้ำก่ำใต้  
ทิศใต้                       ติดกับ     บ้านนาคำเจริญ  
ทิศตะวันออก              ติดกับ     แม่น้ำโขงและ  สปปล.
ทิศตะวันตก                ติดกับ     บ้านสระพังทอง

๑๙.บ้านเหล่าเจริญ  หมู่ที่  ๑๙
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านเหล่าเจริญ ได้แยกออกมาจากบ้านทู้ หมู่ ๖ ตำบลน้ำก่ำ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ โดยมีผู้ใหญ่บ้านคนแรก  คือนายทรงวุฒิ   แสงสุวรรณ   ได้ปกครองมาโดยตลอด และต่อมาได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ใหญ่บ้านอีกหนึ่งสมัยและเมื่อกำนันตำบลน้ำก่ำได้หมดวาระลง ผู้ใหญ่ทรงวุฒิ  แสงสุวรรณ์  ได้สมัครเลือกตั้งเป็นกำนันและได้รับเลือกตั้งเป็นกำนัน ต.น้ำก่ำ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ และเป็นกำนัน จนถึง วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๑ กำนันทรงวุฒิ ได้เสียชีวิตลง  จึงได้มีการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นมาใหม่ โดยผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้านขึ้นมาใหม่คือ นายสุวัฒน์  แสงสุวรรณ เป็นผู้ใหญ่บ้าน เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบัน
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านเป็นที่ราบ  ทุ่งกว้างเหมาะแก่การทำนา   ทำการเกษตร
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      บ้านทู้
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านโคกน้อย
ทิศตะวันออก                     ติดกับ     บ้านสระพังทอง
ทิศตะวันตก                      ติดกับ     บ้านโนนสังข์

๒๐.บ้านใหม่ทรายมูล  หมู่ที่  ๒๐
๑.       ประวัติหมู่บ้าน
บ้านใหม่ทรายมูล  หมู่ที่ ๒๐  ตำบลน้ำก่ำ  ได้ก่อตั้งเมื่อ  ปี พ.ศ. ๒๕๔๘  โดยมีนายอ่าง และนางผอง  เป็นราษฎรบ้านคับพวง ได้ย้ายออกมาตั้งบ้านเรือนเพื่อประกอบอาชีพทำนาทำสวน  และราษฎรย้ายมาจากบ้านทรายมูล  หมู่ที่  ๗ โดยตั้งชื่อหมู่บ้าน ชื่อบ้านใหม่ทรายมูล  และได้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้าน  คือ  บุญตา  แสงสุวรรณ ต่อมานายสงวน   ผายม คนปัจจุบัน  คือ นางสาวจี  ผายม
๒.       สภาพทั่วไปของหมู่บ้าน
ตามสภาพโดยทั่วไปของหมู่บ้านใหม่ทรายมูล  เป็นหมู่บ้านชนบทที่เป็นที่ราบสูง  ลักษณะดินเป็นดินร่วมปนทรายและลูกรังประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรกรรม เช่นปลูกข้าว  ปลูกพืชผักทุกชนิด  และทำการประมง - เลี้ยงสัตว์
๓.      อาณาเขตของหมู่บ้าน  
ทิศเหนือ                          ติดกับ      บ้านคับพวง
ทิศใต้                              ติดกับ     บ้านทรายมูล
ทิศตะวันออก                     ติดกับ     แม่น้ำโขง
ทิศตะวันตก                       ติดกับ     บ้านสันติสุข

๑.๓  ข้อมูลประชากรอาชีพรายได้  จำนวนประชากรในตำบลน้ำก่ำ
-  จำนวนครัวเรือน    ,๕๔๐   ครัวเรือน
-  ประชากร    ,๙๙๘     คน  ชาย   ,๐๒๘    คน  หญิง    ,๙๗๐    คน
-  อาชีพหลัก  (๑) ................ ทำนา ................. จำนวน ............๒,๕๔๐.............ครัวเรือน
       (๒) .......... .................................จำนวน ........................................ครัวเรือน
       (๓) .......... .................................จำนวน ........................................ครัวเรือน
-  อาชีพเสริม (๑) .............ค้าขาย....................จำนวน ..............๑,๕๖๐...............ครัวเรือน
       (๒) .......... .................................จำนวน ........................................ครัวเรือน
       (๓) .......... .................................จำนวน ........................................ครัวเรือน
       (๔) .......... .................................จำนวน ........................................ครัวเรือน
          -  รายได้ภาคเกษตรเฉลี่ย     ๙๕,๔๓๙    บาท/ครัวเรือน/ปี
     -  รายได้นอกภาคเกษตรเฉลี่ย         ๑๖,๐๗๖             บาท/ครัวเรือน/ปี
     -  รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี ๒๕๕๗)      ๑๔๓,๒๓๖     บาท/คน/ปี
     -  ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง  ๓๐,๐๐๐  บาท/คน/ปี)  ปี ๒๕๕๗  จำนวน  .....-...... ครัวเรือน

๑.๔  ข้อมูลสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน/ชุมชน                                                                  
-  พื้นที่อยู่อาศัย.....๑๓,๒๓๕....ไร่  พื้นที่ทำการเกษตร......๙,๓๒๙.....ไร่  ทำนาปีละ......๒.....ครั้ง
-  พื้นที่ทำนา......๑๑,๔๖๐.....ไร่  พื้นที่ทำไร่..............ไร่  พื้นที่ทำสวน............ไร่
-  พื้นที่การเกษตรอื่น ๆ .............ไร่ พื้นที่การเกษตรในเขตชลประทาน (เขตสูบน้ำด้วยไฟฟ้า
   คลองชลประทาน)......................ไร่
-  ป่าชุมชน.......-........แห่ง (ระบุ)  (๑) ...........จำนวน .............ไร่  (๒) ...........จำนวน ...............ไร่ 
-  แหล่งน้ำสาธารณะ         ๒๖             แห่ง
-  ประปา                  แห่ง   ผู้ใช้   ,๕๔๐    ครัวเรือน บ่อสาธารณะ    ๒๓    แห่ง
-  โรงเรียน      แห่ง (ระบุชื่อโรงเรียน) 
(๑) โรงเรียนบ้านน้ำก่ำ(สิทธิผลนุกูล)
(๒) โรงเรียนบ้านน้ำก่ำ(ล้ำประชาอุปถัมถ์)
(๓) โรงเรียนบ้านดอนข้าวหลาม   
(๔) โรงเรียนบ้านคับพวง       
(๕) โรงเรียนบ้านทรายมูล     
(๖) โรงเรียนบ้านแก่งโพธิ์      
(๗) โรงเรียนบ้านทู้(สามัคคี)       
(๘) โรงเรียนบ้านนาคำ 


-  วัด    ๑๗   แห่ง (ระบุชื่อ) 
๑) วัดศรีสะอาด           หมู่ที่    ๑๓      (๒) วัดมุขอุดม             หมู่ที่    
(๓) วัดโพธิ์คำ              หมู่ที่    ๑๐      (๔) วัดโพธิ์ศรี              หมู่ที่    
(๕) วัดดอนข้าวหลาม      หมู่ที่            (๖) วัดโสภณธรรมาราม   หมู่ที่    ๑๘
(๗) วัดโพธิ์ชัย              หมู่ที่            (๘) วัดโพธิ์ชัย              หมู่ที่    
(๙) วัดสมสะอาด          หมู่ที่            (๑๐)วัดบ้านโนนสังข์       หมู่ที่    ๑๑
(๑๑)วัดสระพังทอง        หมู่ที่    ๑๒      (๑๒) วัดสามัคคีธรรม      หมู่ที่    
(๑๓) วัดป่าสุภารมย์       หมู่ที่    ๑๐      (๑๔) วัดดอนม่วงไข่        หมู่ที่    ๑๗
(๑๕) วัดป่าสัก             หมู่ที่    ๑๗      (๑๖)สำนักสงฆ์สันติวนาราม  หมู่ที่   ๑๔
(๑๗) สำนักสงฆ์สุวรรณราม  หมู่ที่ ๒๐

-  จำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า       ,๕๔๐      ครัวเรือน 
-  โทรศัพท์สาธารณะ           แห่ง   ส่วนตัว (เบอร์บ้าน)    ,๐๐๐   เครื่อง
-  โทรศัพท์มือถือ      ,๐๐๐      เครื่อง
-  หอกระจายข่าว   ๒๐   แห่ง   วิทยุชุมชน      แห่ง
-  ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน         ๑๑        แห่ง  (ระบุชื่อ) 
๑) ชื่อ...การทำน้ำพริกสมุนไพร  (นางเพิงใจ  กล่ำผัก)      สถานที่ตั้ง        หมู่ที่   
                        ๒) ชื่อ... การเลี้ยงปลาในกระชัง          (นายสุดสาคร  ไชยมาตย์)     สถานที่ตั้ง  ๑๑   หมู่ที่     
                        ๓) ชื่อ......การประดิษฐ์พิณ(นายสงวน    ควรครู) สถานที่ตั้ง  ๑๑   หมู่ที่     
                        ๔) ชื่อ.....การสานแห           (นายกิ   ภูผู้ )                   สถานที่ตั้ง  ๑๖   หมู่ที่     
                        ๕) ชื่อ.....การนวดแผนไทย  (นางสาวสมเพ็ญ  ผายม )สถานที่ตั้ง  ๓๙  หมู่ที่   ๑๓ 
                        ๖) ชื่อ.....การทำลอบดักปลา    (นายคัมภีร์  จันทนะ)สถานที่ตั้ง       หมู่ที่     
                        ๗) ชื่อ....การทำปลาร้า        ( นางแขวง  จันทนะ)           สถานที่ตั้ง  ๑๓  หมู่ที่      
                        ๘) ชื่อ.... การทำอวนหาปลา  (นายกิ   ภูผู้ )                   สถานที่ตั้ง  ๑๖   หมู่ที่     
                        ๙) ชื่อ....ช่างเสริมสวย       (นางรัศมี   สุทธิสาร) สถานที่ตั้ง       หมู่ที่     
                        ๑๐)ชื่อ...การเลี้ยงปลาในบ่อดิน  (นางประพิศ  วัตะโส) สถานที่ตั้ง    หมู่ที่      
                        ๑๑) ชื่อ...เกษตรผสมผสาน (นางสาวลัดดา  อันทะเกตุ ) สถานที่ตั้ง        หมู่ที่  ๑๐
  
-  บ้านหนังสืออัจฉริยะ     ๑๐     แห่ง  (ระบุชื่อ) 
๑) บ้านน้ำก่ำกลาง (นางสาวสว่างจิตร์  สุภารัตน์ )    หมู่ที่  
(๒) บ้านแก่งโพธิ์ (นายนพพร   มิทานนท์)              หมู่ที่  
(๓) บ้านน้ำก่ำใต้  (นางจิตรัตน์ดา  นากรณ์)            หมู่ที่  
(๔) บ้านทู้ (นายสงิด  ชนะชน )                             หมู่ที่  
(๕) บ้านทรายมูล (นายบุรินทร์  ผุยผล)                  หมู่ที่  
(๖) บ้านคำผักแพว (นายวิชิต   ปู่กระสิงห์)              หมู่ที่  
(๗) บ้านดอนข้าวหลาม ( นายปาน  จันทรชมภู)      หมู่ที่   
(๘) บ้านน้ำก่ำเหนือ ( นางวัลภา  ขันติยะ)               หมู่ที่  ๑๐ 
(๙) บ้านโนนสังข์ ( นายอเนกพงษ์  เหล่าง่า )          หมู่ที่  ๑๑ 
(๑๐) บ้านใหม่ทรายมูล ( นายประดิษฐ์  มีภาทัศน์)    หมู่ที่  ๒๐ 
-  กศน.ตำบล             แห่ง    ศาลาประชาคม/       ๒๐       แห่ง 
-  อื่น ๆ .................................................................

๑.๕  ข้อมูลงานประเพณี/แหล่งท่องเที่ยว
-  บุญบั้งไฟ  เดือน  พฤษภาคม  (ระบุกิจกรรม)  การประกวดบั้งไฟที่สวยงาม
-  เทียนพรรษา  เดือน  กรกฎาคม (ระบุกิจกรรม)
-  สงกรานต์  เดือน  เมษายน (ระบุกิจกรรม)   รดน้ำดำหัววันผู้สูงอายุ  
-  ออกพรรษา  เดือน  ตุลาคม  (ระบุกิจกรรม)................................................................................
-  อื่น ๆ (ระบุ)  ...............................................................................................................................
 สถานที่ท่องเที่ยวหมู่บ้าน/โบราณสถาน/โบราณวัตถุ
     ๑. หาดแห่  อยู่ในเขตพื้นที่  หมู่ที่    บ้านน้ำก่ำใต้
     ๒. แก่งคับพวง  อยู่ในเขตพื้นที่  หมู่ที่  ๔ บ้านคับพวง
     ถ้ำสาวไหม  อยู่ในเขตพื้นที่   หมู่ที่    บ้านคับพวง
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร
     ๑. ฟาร์มโคขุน    ชื่อฟาร์ม โคขุนรัตนะ”  เจ้าของ นายรัตนะ  เสเนตร

๑.๖   ข้อมูลด้านการบริหารหมู่บ้าน
          ๑.๖.๑  รายชื่อ  กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน
๑. นายสงิด  ชนะชน            ตำแหน่ง  กำนันตำบลน้ำก่ำ หมู่ที่ ๖  โทร ๐๘๔-๗๙๕๒๒๕๗
๒. นายชัชวาล   ขันติยะ       ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๐๔-๗๔๓๐๗๙๒
๓. นายนพพร  มิทานนท์      ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๐-๗๖๖๓๑๓๕
๔. นายเพชร    ทิศแดง        ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๐-๗๕๖๖๑๕๒
๕. นายนิคม   สวดบุรี           ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๑-๗๗๘๔๙๓๙
๖.นายเฉลิม   จักรชุม           ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๐-๗๕๕๗๕๑๕
๗. นายปัญญา  น้อยตุลัง     ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๑-๙๖๕๒๔๐๓
๘. นายวิชิต  ปุ่มกระสิงห์      ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่     โทร  ๐๘๐-๗๕๕๗๕๑๕
๙. นายปาน   จันทชมภู       ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่      โทร ๐๘๖-๒๒๘๑๑๘๕
๑๐.นายยุทธนา  น้อยนันตะ  ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๐  โทร ๐๘๖-๐๐๙๘๐๖๕
๑๑.นายอเนก  เหล่างา        ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๑  โทร ๐๘๐-๑๗๘๑๘๙๘
๑๒.นายหนูรมย์ แสงสุวรรณ ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๒  โทร ๐๘๙-๗๑๕๓๗๘๘
๑๓.นายปรีดา  ทีระฆัง         ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๓  โทร ๐๘๐-๑๙๐๗๗๕๙
๑๔.นายไกรทอง  อิ่มบุญ      ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๔  โทร  ๐๘๒-๑๒๐๗๖๐๘
๑๕.นายฉลาด  บุปผาชาติ    ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๕  โทร  ๐๘๐-๗๕๕๗๙๖๒
๑๖.นายไชยยา  แสงสุวรรณ  ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๖  โทร  ๐๘๙-๔๙๐๙๙๓๖
๑๗.นายกิตติศักดิ์  ชมจันทร์  ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๗ โทร  ๐๘๕-๗๕๒๑๕๔๙
๑๘.นายดิเรก   กล่ำผัก        ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๘ โทร
๑๙.นายสุวัฒน์  แสงสุวรรณ  ตำแหน่ง  ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๑๙ โทร  ๐๘๕-๖๔๔๐๔๙๘
๒๐.นางสาวจี   ผายม          ตำแหน่ง   ผู้ใหญ่บ้าน  หมู่ที่  ๒๐ โทร  ๐๘๘๕๑๓๑๖๒๔

๑.๖.๒  รายชื่ออาสาสมัครเกษตรประจำตำบลน้ำก่ำ  มีดังนี้

           หมู่ที่ ๑  นายประเยือน  สุริยะวงศ์              หมู่ที่ ๒ นายเคน   ทองสง่า
หมู่ที่ ๓ นายณรงค์   ดำดาย                      หมู่ที่ ๔ นายสุเนตร   ผายม       
           หมูที่ ๕ นายสมชาย  พลนารี                    หมู่ที่ ๖ นายหรัง   นามวงษา
           หมู่ที่ ๗ นายประธาน   ซาเหลา                 หมูที่ ๘ นายประสิทธิ์   ผุยผล
           หมู่ที่ ๙ นายสุพี   ทะนาจันทร์                   หมู่ที่ ๑๐นางทิพย์ณฐา แสงสุวรรณ
           หมู่ที่ ๑๑ นางเรียนพร  โมรินทร์                 หมู่ที่ ๑๒ นายเงี่ยม  แสงสุวรรณ  
           หมู่ที่ ๑๓นางตาน้อย  รัตน์วิลัย                   หมู่ที่ ๑๔ นายบุญมา  คำราษฏร์
           หมู่ที่ ๑๕ นายกิตติศักดิ์  โอวัง                   หมู่ที่ ๑๖ นางแพน  แสงสุวรรณ์
           หมู่ที่ ๑๗ นางจงกล  น้อยนันตะ                 หมู่ที่ ๑๘ นายสนั่น   ยะสุรีย์      
           หมู่ที่ ๑๙ นายคมเพชร  แสงสุวรรณ์            หมู่ที่ ๒๐ นายหนูชอน  แสงสุวรรณ

     ๑.๖.๓ รายชื่ออาสาสมัคร  กศน
           ๑นายประเยือน   สุริยะวงศ์
     ๑.๖.๔ รายชื่ออาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน
                 ๑. นายดำรงค์    แสงสุวรรณ
     ๑.๖.๕ รายชื่อคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
         -
     ๑.๖.๖ รายชื่อปราชญ์ชาวบ้านด้านการเกษตร
                ๑. นายอุทิน   แสงอรุน  
     ๑.๖.๗ รายชื่อปราชญ์เพื่อความมั่นคง
                ๑.สุคนธ์  ศรีรัตน์


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น